Case Psychotherapy

1.   เลือกเคสที่ต้องการทำจิตบำบัด โดยต้องเป็นผู้สูงอายุ และชนิดของการทำจิตบำบัด โดยปรึกษากับอาจารย์ ที่ปรึกษาโดยแพทย์ประจำบ้าน ต้องทำ Case Psychotherapy คนละ 1 ราย ในผู้ป่วยจิตเวชสูงอายุ

2.   วิธีการทำ Case Psychotherapy

- นัดเวลากับผู้ป่วย เพื่อทำการทำจิตบำบัด ครั้งละ 45-50 นาที สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

- ขออนุญาตผู้ป่วยเพื่อบันทึกเทปการทำ psychotherapy ทุก session

- ทำการถอดเทปอย่างละเอียด

- สรุปการทำ psychotherapy แต่ละครั้ง และนำไปขอคำปรึกษาจากอาจารย์เจ้าของ case หรือ อาจารย์ที่ปรึกษา โดยอาจารย์ลงนามในแบบประเมินคุณภาพรายงานจิตบำบัด ส่วนที่ 1 ทุกครั้ง

3.  บันทึกวันเวลาที่นำเคสเข้า supervision กับอาจารย์ที่ปรึกษาลงในแบบฟอร์มการติดตามการทำจิตบำบัด ทุกครั้งที่ได้รับการ supervision

4. ส่งรายงานจิตบำบัดจำนวน 2 ชุด พร้อม file และ แบบประเมินคุณภาพรายงานจิตบำบัด ส่วนที่ 1 โดยส่งก่อนยื่นของสอบบอร์ด

 

คำแนะนำในการเขียนรายงาน

การเขียนรายงานควรประกอบด้วยหัวข้อดังต่อไปนี้

  1.         Patient’s profile
  2.        Clinical description and diagnosis : ความยาวไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ
  3.        Psychopathology : ดูตัวอย่างการเขียนจาก Principles of the psychiatric evaluation (1991) by Roger A. Mackinnon and Stuart C. Yudofsky
  4.        Developmental data :
  5.        Case formulation : (ตามแต่ทฤษฎี)
  6.        Treatment plan : short-term and long-term plan
  7.        Brief description of each visit : ระบุว่าเป็น session ที่เท่าไร วันที่ทำการบำบัด บรรยายลักาณะที่เกิดขึ้นใน session ที่สำคัญทั้งในด้าน content และ process ในแต่ละ session ความยาวประมาณ 8-10 บรรทัด

 

Visitors: 91,313